การเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน
กรมอนามัยได้จัดทำกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเพศชายและเพศหญิง
อายุ 5 - 18
ปีขึ้น
และจะบอกหรือตอบคำถามกับนักเรียนได้หลายข้อ
ดังนี้ |
1.น้ำหนักของบุคคลเท่าใดจึงจะเป็นไปตามเกณฑ์อายุ |
2.ส่วนสูงของบุคคลเท่าใดจึงจะเป็นไปตามเกณฑ์อายุ |
3.น้ำหนักและส่วนสูงของบุคคลเท่าใดจึงจะจัดว่าสมส่วน
ท้วม
เริ่มอ้วน
อ้วน
ค่อนข้องผอม
และผอม |
4.น้ำหนักและอายุของบุคคลเท่าใดจงจะจัดว่าน้ำหนักค่อนข้างมาก
น้ำหนักมากเกินเกณฑ์น้ำหนักค่อยข้างน้อย
และน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ |
5.ส่วนสูงอายุของบุคคลเท่าใดจึงจะจัดว่าค่อนข้างสูง
สูง
ค่อนข้างเตี้ย
และเตี้ย |
6.ค่ากลางของน้ำหนักของบุคคลเท่าใดจึงจะเป็นไปตามเกณฑ์อายุ |
7.ค่ากลางของส่วนสูงของบุคคลเท่าใดจึงจะเป็นไปตามเกณฑ์อายุ |
สำหรับกราฟเกณฑ์น้ำหนักส่วนสูงต่าง
ๆ
คลิกดูได้ที่
กรมอนามัย
หรือ่านได้ที่
หนังสือสุขศึกษา
ม.1
อ.ปรีชา |
การประเมินน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
ส่วนใหญ่แล้วแพทย์จะนิยมใช้ค่าดัชนีมวลกาย
(
Body
Mass
Index
:
BMI
)
ในการประเมินมากกว่าโดยมีสูตรคำนวณ |
การคำนวณดัชนีมวลกาย |
ดัชนีมวลกาย =น้ำหนัก(กก)
ส่วนสูง(ม)² |
ตัวอย่างการคำนวณ |
ส่วนสูง 170ซม.น้ำหนัก 85 กก.
-
น้ำหนักตั้ง 85 กก.
-
ส่วนสูง*ส่านสูง = 1.70*1.70=2.89
-
ดัชนีมวลกาย= 85/2.89=29.41 กก/ตารางเมตร
|
|
คลิ๊กที่นี่ดูตารางดัชนีมวลกาย |
เกณฑ์การพัฒนาของเด็กให้เติบโตตามเกณฑ์และให้มีสัดส่วนที่ดีต้องขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลาย
ๆ
ด้าน
เด็กต้องทานอาหารให้ถูกหลัก
และมีประโยชน์ตรงนี้ |
ต้องขึ้นอยู่กับพ่อแม่ว่าจะมีเวลาเอาใจใส่เรื่องอาหารให้ลูกรักของท่านอย่างไร
การออกกำลังกายก็เป็นสิ่งสำคัญกับการเจริญเติบโตตามวัย
นั้นทุกอย่างที่เกี่ยวกับสุขภาพ |
ร่างกายที่ดีของเรา
มีส่วนเกี่ยวข้องกับเกณฑ์การเจริญเติบโต
และพัฒนาการทางด้านร่างกายของเรา |
|